Submitted by Sirachat.S on Mon, 05/15/2023 - 15:01
ความหลากชนิดของนกในพื้นที่อุทยานธรณีสตูล

Issue

Abstract

Abstract

     ทำการศึกษาความหลากชนิคของนกในพื้นที่อุทยานธรณีสตูล จังหวัดสตูล ด้วยวิธี Mclinnon Species L ist จำนวน 3 รอบการสำรวจระหว่างเดือนสิงหาคม 2563 ถึง เดือนเมษายน 2564 ตามถิ่น อาศัย 4 ประเภท ได้แก่ ชุมชน พื้นที่เกษตร ป้ชายเลน และป่าคิบชื้น จากการสำรวจพบนกทั้งหมด 195 ชนิด 133 สกุล 56 วงศ์ จาก 20 อันดับ โดยอันดับที่พบมากที่สุดคืออันคับนกจับคอน (Passeriformes) จำนวน 91 ชนิด รองลงมาคืออันดับนกตะขาบ (Coraciiformes) และอันดับนกชายเลน (Charadrii- formes) จำนวน 13 ชนิด ค่าดัชนีความหลากหลายทางชีวภาพในพื้นที่ศึกษาเท่ากับ4.136 โคยในถิ่น อาศัยป้าดิบชื้นมีคัชนีความหลากหลายสูงสุด4.161) และชุมชนมีคัชนีความหลากหลายต่ำที่สุด3.143)) การวิเคราะห์คำดัชนีความคล้ายคลึง พื้นที่เกษตรและปาชายเลนมีด่สูงที่สุด0.633) รองลงมาคือพื้นที่ เกษตรและพื้นที่ชุมชน0.621) และพื้นที่ชุมชนและป่าคิบชื้นความคล้ายคลึงน้อยที่สุด0.261) ) ตาม ลำดับ การประเมินสถานภาพเพื่อการอนุรักษ์ในระดับสากล (IUCN) พบนกอยู่ในระดับความเสี่ยงขั้นสูงต่อสูญพันธุ์ (:N) 1 ชนิด คือ นกเขียวก้านตองใหญ่ (Choropsis somnerat) ระคับความเสี่ยง ขั้นอันตรายต่อความเปีนอันตรายจากการสูญพันธุ์ (VU) พบ 2 ชนิด คือ นกเงือกกรามช้างปากเรียบ(Rryticeros subrnficollis) และนกหว้า (Agusianus arguช) ระดับความเสี่ยงขั้นอันตรายต่อสูญพันธุ์ ในอนาคตอันใกล้ (N1) พบ 13 ชนิด ผลการศึกษาครั้งนี้เปีนฐานข้อมูลที่สำคัญต่อการอนุรักษ์ความ หลากหลายของทรัพยากรสัตว์ป่าประเภทนกในพื้นที่อุทยานธรณีสตูล ซึ่งมีแนวโน้มถูกเปลี่ยนแปลงอย่างเนื่องจากการขยายตัวของพื้นที่เกษตรกรรมและกิจกรรมการท่องเที่ยว

Abstract

     Species diversity of birds in Satun Geopark was conducted using Mckinnon species list method within 120 sampling times. The surveys were done between August 2020 and April 2021 in four types of habitats namely: village, agricultural area, mangrove forest, and evergreen forest. A total of 195 species (in 133 genera, 56 families, 20 orders) were recorded. The highest number of species was found in the order Passeriformes (91 species) followed by Coraciiformes and Charadriformes (each 13 species). The species diversity index of the study area was 4.136. The highest diversity was in the evergreen forest (H' = 4.165) and the lowest diversity was in village (H' = 3.143). Agricultural area and mangrove forest had the highest similarity index (QS = 0.633) and the lowest similarity index was between village and evergreen forest (QS = 0.261). According to conservation status by IUCN red data list of threatened species, this study found 1 Endangered species(EN), Chloropsis sonnerati; 2 Vulnerable species (VU), Rhyticeros subruficollis and Argusianus argus; and 13 Near threatened species (NT). The results of this study are important for bird conservation. Human activities disturbed species diversity of birds in the study area.

Attachment

23 Views.