Submitted by Sirachat.S on Mon, 05/15/2023 - 14:36
ความหลากชนิด ความมากมาย และช่วงเวลาปรากฏของนกในบริเวณ พื้นที่เขาหินปูน อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี

Issue

Abstract

Abstract

     การศึกษาความหลากชนิด ความมากมาย และช่วงเวลาทำกิจกรรมของนกในพื้นที่สัมปทานเหมืองเขาหินปูน อำเภอแก่งคอย จังหวัดสระบุรี โดยใช้กล้องคักถ่ายภาพ ดำเนินการระหว่างเดือนถึงเดือนพฤศจิกายน 2563 ระยะเวลา 12 เดือน ด้วยการติดตั้งกล้องคักถ่ายภาพ 40ต่ำแหน่ง ในพื้นที่ที่มีกิจกรรมสัมปทานเหมืองหินปูนหรือพื้นที่ที่ถูกรบกวน จำนวน 16 ตำแหน่ง3,232 กับดักคืน และในบริเวณพื้นที่เขาหินปูนธรรมชาติหรือพื้นที่ที่ไม่ถูกรบกวน 24 ตำแหน่ง 4,320กับดักคืน รวม 40 ตำแหน่ง 7.552 กับดักคืนผลการศึกษาพบนกรวม 23 ชนิด 14 วงศ์ 7 อันดับ แบ่งเป็นพบในพื้นที่สัมปทานเหมืองหินปูน 19 ชนิด จาก 11 วงศ์ เรียงลำดับค่าความมากมายสัมพัทธ์จากมากไปน้อย 3 อันดับแรกในพื้นที่สัมปทานเหมืองหินูปูน ได้แก่ นกเขาใหญ่ (13.07%) ไก่ป่า (10.10%) และนกแต้วแล้วธรรมดา(4.45%) และพบนกในพื้นที่ธรรมชาติ 11 ชนิด 8 วงศ์ เรียงลำดับค่าความมากมายสัมพัทธ์ในพื้นที่จากมากไปน้อย 3 อันดับแรก ได้แก่ ไก่ป่า (25.88%) นกเขาใหญ่ (11.38%) และนกกางเขนคง(6.23%) ผลการศึกษาการซ้อนทับในเชิงเวลาระหว่างนกจู๋เต้นเขาหินปูนกับนกชนิดอื่นพบว่า ไก่ป่ามีการซ้อนทับกันในเชิงเวลากับนกจู๋เต้นเขาหินปูนมากที่สุด 64.37% รองลงมา คือ นุกกะรางหัวหงอก (63.03%) นกเขาใหญ่ (59.00%) และนกแวแล้วธรรมดา (58.10%) ผลการศึกษาที่ได้สามารถนำไปใช้ในการจัดการพื้นที่เพื่อการอนุรักษ์นกเฉพาะถิ่นในพื้นที่เขาหินปูนต่อ ไป

Abstract

     A study of species diversity, abundance, and daily activities of birds in the limestone mining concession area, Kaeng Khoi District, Saraburi Provin ince using a camera trap was done between October 2019 and November 2020 by placing 40 camera trap locations totally in the areas with 16 camera locations in limestone mining concessions, 3,232 trap nights and 24 camera trap locations in the natural limestone mountain area, 4,320 trap nights, with a total of 40 camera locations, 7,552 trap nights totally.
     The study in disturbed area found 19 species from 11 families, in descending order of relative abundance in the limestone concession area such as Spotted Dove (13.07%), Red Junglefowl (10.10%) and Blue-winged Pitta (4.45%). In the case of the undisturbed area, 17 species, 13 families, were found when arranged in descending order of relative abundance in the area, such as Red Junglefowl (25.88%), Spotted Dove (11.38%), White-rumped Shama (6.23%), and Blue-winged Pitta (4.06%). In addition, the results ofa temporal overlapping study between Rufous Limestone-babbler (Gypsophila calcicola) and other wild birds. The most valuable are White-crested Laughingthrush (스=63.03), Spotted Dove (스=59.00), Blue-winged Pitta (스=58. 10). The results of the study can be used in the area management for conservation of endemic wildlife especially bird species in the limestone area.

Attachment

23 Views.