- 9 views
Abstract
การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินในจังหวัดปทุมธานีจากอดีตจนถึงปัจจุบัน ได้ส่งผลกระทบต่อการลดลงของพื้นที่ธรรมชาติอย่างต่อเนื่อง การสูญเสียพื้นที่เหล่านี้จะมีผลกระทบสืบเนื่องหลายประการด้วยกัน คุณภาพขอ งน้ำ ถิ่นที่อยู่อาศัยของพืชและสัตว์ท้องถิ่น รวมถึงคุณภาพของเหล่งพักผ่อนหย่อนใจ การศึกยาในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินคุณภาพน้ำและศึกษาความแตกต่างของคุณภาพน้ำตามลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดิน ในบริเวณพื้นที่ฝั่งตะวันอ ของจังหวัดปทุมธานี โดยได้ทำการ รเก็บตัวอย่างเพื่อวิเคราะห์คุณภา พน้ำทางกายภาพ และทางเคมีทั้ง ด 4 บริเวณ ตั้งแต่บริเวณต้นน้ำคลองมะเสื่อ บริเวณหน้ศูนย์การแพทย์ฯ จังหวัดนครนายก และคลองสาม จังหวัดปทุมธานี ได้ทำการเก็บข้อมูลในเดือนกุมภาพันธ์ 2564 โคยบริเวณที่ศึกษาทั้งหมดเป็นเ แหล่งน้ำไหล และวิเคราะห์หาสัดส่วนการ ใช้ประโยชน์ที่ดินในรัศมี 1 กิโลเม มตร ในแต่ละจุดสำรวจโดยใช้โปรแก กรม QGISผลการศึกษาพบว่า บริเวณนครนายก 2 และปทุมธานี 2 มีค่า าของแข็งละลายน้ำทั้งห หมดมากกว่าจุดสำรวจอื่น ๆ ทั้งยังเกินมาตรฐานควบคุมการระบายน้ำทิ้ กจากนี้ยังพบว่าบริเวณนความเค็มเฉลี่ยของน้ำที่เกินมาตรฐานคุณภาพน้ำชลประทาน ซึ่งการวิเคราะห์คุณภาพน้ำที่เกินมาตรฐานนครนายก 2 มีค่านี้มีความสอดคล้องกับสัดส่วนการใช้ประโยชน์ที่ดิน ที่เป็นการใช้ประโยชน์เพื่อการเกษตรกรรมสูงกว่ากิจกรรมอื่น ๆ นอกจากนั้น การศึกษานี้ชี้ให้เห็นว่า การประเมินคุณภาพน้ำทางกายภาพและทางเคมี สามารถใช้เป็นเครื่องมือเพื่อหาความเชื่อมโยงระหว่างกิจกรรมการใช้ประโยชน์ที่ดินของมนุษย์และสิ่งแวคล้อมในเบื้องดันได้ ทั้งนี้งานวิจัยยังอยู่ในการศึกษาเพื่อต่อยอดให้เยาวชนในพื้นที่ทราบถึงที่มาของการเปลี่ยนแปลงคุณภาพน้ำ เพื่อหาสาเหตุ ป้องกัน และลดการเกิดน้ำเสียที่ต้นทางตลอดจนสามารถคิด วิเคราะห์ เชื่อม โยง การเปลี่ยนแปลงของคุณภาพน้ำในพื้นที่ กับพฤติกรรมการใช้ชีวิต ไปจนถึงการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมรอบตัวได้
Abstract
Changing in land-use in Pathum Thani Province from the past to the present has affected the reduction of natural areas continuously. The loss of these areas will have several consequences:water quality, habitat of local flora and fauna, and the quality of recreational facilities. The paper undertakes a preliminary assessment of water quality and examination of the water quality accord-ing to land utilizations in the east of Pathum Thani Province. The water samples were collected to analyze different physical and chemical parameters, started from the upstream area, front of Khlong Maduea and the Medocal Center, Nakhon Nayok through Khlong Sam, Pathum Thani Province. The proportion of land-use within a radius of 1 kilometer at each survey point were examined using the QGIS program. The water quality data indicated the site Nakhon Nayok 2 and Pathum Thani 2 showed the highest total dissolved solids compared with other study sites, which is higher than the standard of quality of wastewater from the factory. Additionally, Nakhon Nayok 2 had the highest in salinity levels, which is over the standard of irrigation. The analysis of water quality that exceeds the stan- dard is consistent with the highest land-use for agriculture. This study indicates that water quality assessment can be used as a tool to find the relation between land-use activities. Data can be used to enhance the understanding of the cause of water pollution and encourage local youths to think, analyze, and link water quality knowledge with their surrounding environment.