- 23 views
Abstract
งานวิจัยนี้มีจุดประสงค์ในการนำเสนอเกี่ยวกับความสำคัญ และความหลากหลายของแหล่งซากดึกดำบรรพ์ปะการังในพื้นที่จังหวัดสระแก้วและนำเสนอรูปแบบในการพัฒนาแหล่งซากดึกดำพรรพ์ปะการัง เพื่อเป็นแนวทางให้องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นและภาคประชาสังคมในพื้นที่ นำไปขับเคลื่อนให้เกิดการพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวใหม่ เพื่อส่งเสริมเศรษฐกิจค้านการท่องเที่ยวในรูปแบบของการท่องเที่ยวเชิงธรณี ซึ่งเป็นการท่องเที่ยวที่ให้ความสำคัญกับการอนุรักษ์และการแลกเปลี่ยนเรีนรู้กี่ยวกับทรัพยากรธรรมชาติ ที่นอกจากช่วยเพิ่มความรู้ความเข้าใจและความตระหนักในความสำคัญของแหล่งซากดึกคำบรรพ์ ในแง่มุมของเป็นแหล่งเรียนรู้ทางธรรมชาติวิทยาแล้ว ยังสามารถบูรณาการแหล่งท่องเที่ยวที่มีอยู่เคิมในรูปแบบของการท่องเที่ยวทางเลือกซึ่งเหมาะสมกับผู้มาเยือนในทุกช่วงวัย แหล่งชากดึกดำบรรพ์ปะการังในจังหวัดสระแก้วมีความสัมพันธ์กับถักษณะทางธรณีวิทยาของแนวเทือกเขาหินปูนที่วางตัวแนวตะวันตกเฉียงเหนือตะวันออกเฉียงใต้ ต่อเนื่องไปยังด้านทิศตะวันตกของประเทศกัมพูชา สะสมตัวในสภาพแวดล้อมของทะเลโบราณ ในช่วงมหายุคพาสึ โอโซอิกตอนปลาย จนถึงมหาขุคมหายุคมีโซโซอิกตอนต้น(298-230 ล้านปีก่อน) ซึ่งพบกลุ่มซากตึกดำบรรพ์ปะการังที่มีความหลากหลาย และเป็นช่วงเวลาสำคัญที่มีการเปลี่ยนผ่านระหว่างกลุ่มปะการังในอันดับ Rugosa และกลุ่มปะการังในอันดับ Scleractinia อีกด้วย
Abstact
This Study presents preliminary information of fossil coral sites in Sa Kaeo Province and the fossil assemblage diversity. Besides, the community and local administration roles in fossil sites development strategies are submitted in the thematic Geotourism, which is the form of preservation and knowledge-based tourism and could be integrated of new discoveries with the original components of local tourism activities as “Alternative tourism” perspective. Fossil coral sites in Sakaeo Province are related to geological setting of limestone range in NW-SE trending,continuing to the western region of Cambodia. The limestone was deposited in ancient marine environments from the Upper Paleozoic to Lower Mesozoic (298-230 Ma). The assemblage is highly diverse including the Permian corals in Order Rugosa and Triassic corals in Order Scleractinia, which are the most important transference periods in Coral (Hexacorallia) history.