Abstract
ศึกษาความหลากชนิดของสัตว์หน้าดินในพื้นที่ โหนหอยบริเวณปากแม่น้ำบ้านบากัน จังหวัดกระบี่ ระหว่างเดือนตุลาคม 2562 ถึงกันยายน 2563 และ บ้านบุโบย อำเภอละงู จังหวัดสตูลในเดือนสิงหาคม 2563 โดยใช้ Ekman's grabระหว่างการเก็บตัวอย่างครั้งสุดท้ยผู้วิจัยพบตัวอย่างของกุ้งเต้นบราชิลชนิด Podocerus brasiliensis มากกกว่า 200 ตัวซึ่งจัดว่าเป็นรายงานการค้นพบกุ้งเต้นบราชิลชนิดนี้ครั้งแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีรายงานของ P. brasiliensis ในฐานะเป็นชนิดพันธุ์ต่างถิ่นรุกรานในหลาย ๆ มหาสมุทร และพบว่าสามารถรอดชีวิตได้ทั้งแหล่งอาศัยตามธรรมชาติและแหล่งที่มนุษข์สร้างขึ้น ในกรณีของบ้านบากัน ซึ่งไม่มีเรือเดินสมุทรขนาคใหญ่ คาคว่า P. brasiliensis น่าจะติด มาโดยเรือขนาดล็ก และในเขตทะเลของเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีราชงานของ P. brasiliensis ในบริเวณนี้เพียงพื้นที่เดียว จากรายงานการกระจายก่อนหน้านี้พบ . brasiliensis ในหลายมหาสมุทร หากทำการศึกษาอย่างจริงจังอาจพบ การกระจาขของกุ้งเต้นชนิดนี้บริเวณอื่นในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในอนาดต
Abstract
The study on benthic fauna diversity in Hon Hoy, Ban Bakan estuary, Krabi Province were conducted bimonthly between October 2018 and September 2019 and in Ban Bu Boi, La Ngu District, Satun Province in August 2020 by using Ekman’s grab. During the last sampling, more than 200 specimens of the Brazilian amphipod, Podocerus brasiliensis (Dana, 1853) were collected. This finding is the first record of this species for Southeast Asia. Podocerus brasiliensis (Dana, 1853) was previously introduced elsewhere by shipping and can survive in both natural and artificial ecosystems. In the case of Bakan, where no international shipping occurs, recreational boating is the only likely vector of introduction. In Southeast Asia, P. brasiliensis is currently confined only in Krabi Province, enclosed bays and brackish water areas, but its successful history of invasion in many oceans suggests that a further spread can be expected in Southeast Asia as well.